ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 19° 16' 53.6009"
19.2815558
ลองจิจูด (แวง) : E 97° 57' 27.8982"
97.9577495
เลขที่ : 157919
ตอยอ-ฮอร์น
เสนอโดย SURASAK วันที่ 13 กันยายน 2555
อนุมัติโดย สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน วันที่ 3 มกราคม 2556
จังหวัด : แม่ฮ่องสอน
2 1007
รายละเอียด

ตอยอ-ฮอร์น เครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงใน“วงดนตรีพื้นบ้านไทยใหญ่เมืองแม่ฮ่องสอน

ผู้ประดิษฐ์คิดค้นเครื่องดนตรีตอยอ-ฮอร์นเป็นคนแรก คือ John Matthias Augustus Stroh[1]นักประดิษฐ์ชาวเยอรมัน เกิดที่เมือง แฟรงค์เฟิร์ต ประเทศเยอรมัน เมื่อพ.ศ.๒๓๗๑ และเสียชีวิตที่กรุงลอนดอนประเทศอังกฤษ เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๗ คนทั่วไปจะเรียกเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า “Stroh violin” หรือ “Horn violin” มีการจดสิทธิบัตรในปี พ.ศ. ๒๔๔๒ เป็นเครื่องดนตรีประเภทสี มีลักษณะคล้ายกับไวโอลิน แต่มีการเพิ่มเติมส่วนที่เป็นลำโพงหรือฮอร์นจำนวน ๒ ชิ้นมีลักษณะคล้ายลำโพงเครื่องเล่นแผ่นเสียงเป็นกล่องขยายเสียงทำด้วยโลหะ (Metal resonator) และปล่องโลหะ (Metal Horn) ขนาดใหญ่เพื่อขยายเสียงให้ดังขึ้น และขนาดเล็กสำหรับผู้สีได้ยินเสียงเพลง ลำตัวตอยอ-ฮอร์นทำด้วยไม้ มีสายโลหะจำนวน ๔ สาย เวลาสีใช้คันชัก(Bow) ตอยอฮอร์นได้แพร่เข้ามาในพม่าในยุคอาณานิคมอังกฤษ ชาวพม่า ไทใหญ่ ได้ใช้เครื่องดนตรีชนิดนี้บรรเลงเพลงพม่า ไทใหญ่ด้วย



[1]http://en.wikipedia.org/wiki/Stroh_violin

สถานที่ตั้ง
บ้านดนตรี
เลขที่ ๑๖/๒ ถนน ปางล้อนิคม
ตำบล จองคำ อำเภอ เมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัด แม่ฮ่องสอน
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
หนังสือ
บุคคลอ้างอิง นายสุรศักดิ์ ผิวพรรณ อีเมล์ un_surasak@hotmail.com
ชื่อที่ทำงาน สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดแม่ฮ่องสอน อีเมล์ wt_maehongson@hotmail.com
ถนน ขุนลุมประพาส
ตำบล จองคำ อำเภอ เมืองแม่ฮ่องสอน จังหวัด แม่ฮ่องสอน รหัสไปรษณีย์ 58000
โทรศัพท์ 0 5361 4417 โทรสาร 0 5361 4303
เว็บไซต์ www.maehongsonculture.com
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่