ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 14° 57' 38.0765"
14.9605768
ลองจิจูด (แวง) : E 100° 33' 58.491"
100.5662475
เลขที่ : 169546
ภาษาไทยพวน
เสนอโดย ศูนย์ข้อมูลกลาง วันที่ ไม่ระบุ
อนุมัติโดย ศูนย์ข้อมูลกลาง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555
จังหวัด : ลพบุรี
0 2027
รายละเอียด
ภาษาไทยพวน อำเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ภาษาไทยพวน เป็นภาษาหนึ่งในตระกูลไต สืบเนื่องมาจากภาษาเชียงแสน และภาษาเชียงแสนก็สืบเนื่องมาจากภาษายูนานเมื่อประมาณ 1,000 กว่าปีมาแล้ว ภาษาพวนแบ่งออกเป็น ภาษาพูด เป็นภาษาที่ใช้สื่อความหมายกัน มีลักษณะคล้ายคลึงกับภาษาไทยถิ่นอื่นๆ กับภาษาเขียนซึ่งใช้กับงานวรรณคดีและทางศาสนา ภาษาพูด มีสำเนียงคล้ายเสียงภาษาถิ่นเหนือ อักษร ร ในภาษาไทยกลาง จะเป็น ฮ ในภาษาพวน เช่น รัก เป็น ฮัก ชาวพวนที่อยู่ตามจังหวัดต่างๆ เช่น สุพรรณบุรี สระบุรี นครนายก ปราจีนบุรี ราชบุรี สุโขทัย ฉะเชิงเทรา รวมทั้งอำเภอบ้านหมี่ ลพบุรี ยังใช้ภาษาพวนพูดกันอยู่แต่อาจจะมีความแตกต่างในสำเสียงและคำบ้างในแต่ละท้องถิ่น นับได้ว่าชาวพวนมีวัฒนธรรมด้านภาษาอันเป็นเป็นเอกลักษณ์ของตนเอง ทั้งภาษาพูด และภาษาเขียน ถึงแม้ปัจจุบันภาษาเขียนจะไม่มีคนเขียนได้ ก็ยังคงเหลือเพียงภาษาพูดอยู่บ้างในคนรุ่นเก่าๆ แต่คนรุ่นใหม่มักจะไม่นิยมพูดแล้ว
สถานที่ตั้ง
ตำบล หนองเต่า อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัด ลพบุรี
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
ตำบล หนองเต่า อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัด ลพบุรี
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่