นวดไทยลังกาสุกะ เป็นการนวดในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบด้วย ยะลา ปัตตานี และ
นราธิวาส โดยในพื้นที่จังหวัดยะลา จะมีครูภูมิปัญญา คือ นายนิยม แก้วแสงเรือง เป็นผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้
การนวดไทยลังกาสุกะ โดยมีลูกศิษย์มาเรียนรู้และไปประกอบอาชีพรักษาคนไข้ในพื้นที่สามจังหวัด ประมาณ
พันกว่าคน
ลังกาสุกะ เป็นทั้งชื่อเมืองและชื่อรัฐหรืออาณาจักรซึ่งมีปรากฏในพงศาวดารมาเลย์และชวา
ศาสตราจารย์ ดี.จี.ฮอลล์ กล่าวไว้ในหนังสือ “ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ว่า หนังสือจีน คือ Liang
–Shu เขียนเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ ๗ กล่าวถึงรัฐแห่งนี้ว่าเกิดมีขึ้นเมื่อคริสศตวรรษที่ ๒ รัฐมีอาณาเขต ตั้งแต่
ปัตตานีลงไปจนถึงทางใต้ ของคาบสมุทรมลายูและจากข้อเขียนต่างๆ ของจีน โดยเฉพาะประวัติศาสตร์
ราชวงศ์เหลียง กล่าวถึง สันพันธไมตรีกับจีนโดยตรง เช่นเดียวกับรัฐพันพัน ซึ่งอยู่ถัดขึ้นไปทางตอนเหนือและ
เช่นเดียวกับรัฐชิห์-ทู(เชียะโท้)
ลังกาสุกะในฐานภาพเมืองไม่เป็นที่ยืนยันแน่นอน เพราะนักวิชาการมีความเห็น แตกต่างกันมีแต่การ
สันนิษฐานว่าอยู่บริเวณจังหวัดจังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน เอกสารที่กล่าวถึงที่ ตั้งที่ใกล้เคียงความเป็นจริง ก็มีแต่ ในแผนที่ของจีนซึ่ง นายเจ.วี.มิลส์ ได้เขียนถึงไว้ในบทความเชื่อ “Malaya in the Wu-pei-chin charts” ไม่ปรากฏแน่ชัดว่าผู้ใด เป็นผู้ก่อตั้งเมือง ทั้งรัฐลังกาสุกะ แต่มีชื่อนี้ปรากฏในจารึกของอินเดียสมัยที่ พระเจ้าราเชนทร์โจฬะที่ ๑ มาได้ชัยชนะในการรบที่คาบสมุทรมลายูว่าพระองค์ทรงรบชนะเมือง Thaairgasoka ด้วย แต่ปรากฏเรื่องราวของเมืองนี้ว่ามีสัมพันธไมตรีกับจีน โดยเฉพาะด้านการค้าขาย จีนเริ่ม เขียนถึงในคริสต์ศตวรรษที่ ๗ ในประวัติศาสตร์ รางวงศ์เหลียง และยังมีการเขียนถึงต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ ๘ ในระยะแรกๆนั้นมีข้อเขียนของนักบวช ชาวจีนอีกหลายท่านที่กล่าวถึงเมืองลังกาสุกะซึ่งในภาษาจีนว่า ลัง-กาเสี่ยว (Lang-ya-haaiu) บ้าง อี่จิงกล่าวว่าหลวงจีน ๒ รูปมรณภาพที่เมืองนี้ และหลวงจีนต้าหลิม ก็เคยแวะที่ เมืองนี้ระหว่างการเดินทางไปอินเดีย และหลวงจีนอี้จิงเขียนถึงเมืองนี้ไว้ในหนังสืออีกเรื่องหนึ่งชื่อ Nai-hai Chikueet Nei-fa Chuan โดยกล่าวว่าตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อเทียบกับศรีเกษตรทางตะวันตกและลิน ยี (จามปา) ทางตะวันออก ส่วนในแผนที่ Wu-pei-chin ที่อธิบายฝั่งทะเลด้านตะวันออกเฉียงเหนือของคาบสมุทรมลายู กล่าวถึง Lang-his chia ว่าอยู่ใต้จากสงขลาโดยทางใต้มีแม่น้้า Kun-haa-te แบ่งเขตเมืองทั้งสอง ๒ ระยะสมัยเดียวกับราชวงศ์เหม็งแห่งจีน หนังสือที่ชาวเมืองอาหรับแต่งเล่มหนึ่ง (ซึ่งแปลเป็น ภาษาอังกฤษ “The Ship of Sulaiman”) ได้กล่าวถึง Langashuka ว่าเมื่อน้าไปรวมกับตรังและกลุ่มซาแยร์ (Sayer Islands ) ก็อยู่บนเส้นรุ้งเหนือที่ ๒ คืออยู่ใต้จากสงขลาแต่เหนือจากกลันตัง เทียบองศาปัจจุบันก็คือ ๗ องศา๔๓ ลิปดาเหนือ แต่ทั้งนี้เป็นการค้านวณที่ผิดพลาดไปบ้างเพราะตรังตั้งอยู่ที่เส้นรุ้ง ๗ องศา ๒๕ ลิปดา เหนือจากกลันตัน ทั้งนี้เพราะผู้เขียนมีเจตนาจะให้ที่ตั้งของลังกาสุกะว่าอยู่ระหว่างสงขลากับกลันตังนั่นเอง ในวรรณคดีชวา คือ Nagarskriaa haama ซึ่งกวีในราชส้านักชื่อ Prapanca แต่งเมื่อ ค.ศ.๑๓๖๕มี ชื่อ Lenghasuka ว่าเป็นรัฐในปาหังซึ่งอยู่ใต้อ้านาจมัชปาหิต คือ เป็นรัฐทางฝั่งตะวันออกของฝั่งตะวันออกของ คาบสมุทรมลายูใกล้ๆ สายบุรีในวรรณคดีมลายูจากพงศาวดารเคดาห์กล่าวว่า กษัตริย์มะโรงมหาวงศ์ทรงสร้าง พระราชวังที่สวยงามมาก และทรงเรียกท้องพระโรงว่าลังกาสุกะ และชื่อลังกาสุกะนี้ยังปรากฎในนิยายพื้นบ้าน ของชาวมาเลย์ทางฝั่งตะวันตกจองคาบสมุทรอีกด้วย ในจดหมายเหตุการเดินทางของพ่อค้าจีนจากคริสต์ศตวรรษที่ ๗ สืบต่อมายังกล่าวถึงลังกาสุกะว่าเป็น เมืองท่าซึ่งเป็นแหล่งของไม้เนื้อหอมหลายชนิดที่ดีที่สุดในแถบคาบสมุทรมลายู นอกจากนี้สินค้าอื่นก็มีเครื่อง หอม เครื่องเทศ งาช้าง นอแรด และสมุนไพรต่างๆ ฝ่ายจีนก็น้าผ้าฝ้าย ผ้าไหม เครื่องลายครามมาขาย ใน ปัจจุบันได้มีการตั้งถิ่นฐานในบริเวณที่เคยถูกทิ้งรกร้างไปในเขตจังหวัดปัตตานีหลายสิบปีมาแล้ว และยังมีผู้เข้า ไปสร้างบ้านเรือน รวมทั้งท้าสวน ท้านา ท้าไร่ ในบริเวณที่มีก้าแพงดินกั้นล้อมไว้ โดยมีร่องรอยร่องน้้าเป็น ท้านองคูเมืองที่บ้านปะแว ต้าบลยะรัง อ้าเภอยะรัง ทั้งนี้ ทั้งในสวนและนอกบริเวณเมืองก็มีโคกดินที่มีอิฐเรียง อยู่บ้างหลุดหลุดออกปนกับดินบ้าง ผู้ที่ศึกษาบริเวณเมืองโบราณแห่งนี้มาแต่ต้น คือ นายอนันต์ วัฒนานิกร อดีตศึกษาธิการอ้าเภอยะรัง ท่านผู้นี้ยังได้ศึกษาที่อีกบริเวณหนึ่ง คือที่บ้านวัดต้าบลวัด ในอ้าเภอยะรัง เช่นเดียวกัน เพราะมีโคกดินคล้ายที่บ้านปะแว แต่ใหญ่กว่าและมีโคกจ้านวนถึงประมาณ ๒๐ โคก ด้วยกันหลัง จากนั้นทางกองโบราณคดี กรมศิลปากร ได้แสดงความสนใจอยู่บ้าง แค่ยังไม่มีโครงการจะคุดค้นบริเวณทั้งสอง นี้ จึงมีผู้ฉวยโอกาสขุดเจาะน้าเอาศิลปวัตถุ เช่น พระพุทธรูป และลวดลายปูนปั้นตกแต่งอาคารไปจากบริเวณ ทั้งสองโดยไม่มีผู้ใดทราบ รายละเอียดว่ามีสิ่งใดบ้าง ถ้าหากมีการส้ารวจอย่างละเอียดร่องรอยของเมือง ลังกาสุกะจะเป็นที่ประจักษ์ ๔. สำระส ำคัญของมรดกภูมิปัญญำทำงวัฒนธรรมโดยสังเขป การนวดไทยลังกาสุกะ เป็นการเรียกตามดินแดนที่ตั้งลังกาสุกะ เกิดขึ้นเมื่อประมาณ ๓,๐๐๐ กว่าปี เกิดขึ้นก่อนอาณาจักรศรีวิชัย เริ่มมาตั้งแต่บริเวณประจวบคีรีขันธ์ลงไปจนถึงทวายประเทศมาเลเซียเมื่อก่อน การนวดไทยลังกาสุกะ ใช้ส้าหรับรักษาอาการเจ็บไข้ได้ป่วยของสมาชิกในครอบครัว เป็นการนวดที่ใช้ นิ้วหัวแม่มือและมีอุปกรณ์ประกอบการนวด เช่น ไม้ทางใบตาล ผู้นวดลังกาสุกะจะนวดด้วยความสุภาพต่อ คนไข้ ไม่นั่งคร่อมล้าตัวคนไข้ ไม่ใช้เท้า ไม่ยืนอยู่เหนือศีรษะของคนไข้ ตามหลักวิชาการแพทย์โบราณของชาวลังกาสุกะ ที่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬทางตอนใต้ของอินเดีย ได้เรียนรู้ว่าร่างกายของมนุษย์ ประกอบด้วยปัญจภูติ คือ ธาตุต่างๆ ในร่างกาย ๕ อย่าง ธาตุดิน ปถวีธาตุ (ของแข็ง) มี ๒๐ ประการ ธาตุน้้า อาธาตุ (ของเหลว) มี ๑๒ ประการ ธาตุไฟ เตโชธาตุ (ของร้อน) มี ๔ ประการ ธาตุวาโย วายุธาตุ (ลม) มี ๖ ประการ ธาตุอากาศ (แก๊ส) มี ๑๐ ประการ ปัญจภูตินี้คือ พลังจักรวาลซึ่งรวมสิ่งของ ๒ สิ่งบวกกันอยู่เสมอ เช่น มีกลางวันก็มีกลางคืน มีความ ร้อนก็มีความเย็น มีเพศหญิงก็มีเพศชายเป็นต้น เป็นด้านสรรพสิ่งตรงข้าม ด้านทั้งสองนี้จะต่อต้านกัน ขณะเดียวกันก็ควบคุมเป็นเอกภาพแก่กัน สรรพสิ่งที่ประกอบอยู่ในจักรวาลนี้ประกอบด้วย พลังปรานาวยุ และ ๓ อัพพะนาวายุ คล้ายกันกับหยิน-หยาง ของจีน มีการเปลี่ยนแปลงเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์ซึ่งกันและกันตลอดเวลา และท้าการเปลี่ยนแปลงนี้เองเป็นตัวก้าหนดปรากฏการณ์ธรรมชาติทั้งปวง รวมทั้งการเจริญเติบโตและการ เปลี่ยนแปลงของชีวิตมนุษย์ ร่างกายนี้เปรียบเสมือนบอลลูนของสิ่งมีชิวต ภายในร่างกายธาตุอากาศซึ่งประกอบ อยู่ในระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นและกระดูก สร้างระบบกลไกขึ้นในร่างกาย คือธาตุอากาศบวกกับธาตุน้้า เป็น เคมีเหลวในร่างกาย เมื่อแห้งแล้วก็ตกเป็นผลึก สิ่งเหล่านี้ คือ ระบบโรงงานเคมี ซึ่งมีอากาศธาตุหรือแก๊ส เรื่องแก๊สนี้ ในคัมภีร์ฮินดู มี ๑๔ ธาตุ และปัจจัยหลัก คือ เม็ดโลหิตแดง เม็ดโลหิตขาว ชิ้นส่วนอณูเล็ก ของเนื้อเยื่อพวก “พลาสม่า” เกิดจากอาการเกิดความเป็นกรดและด่างท้าให้เกิดระบบการหมุนเวียนเกิดขึ้นใน ร่างกายได้ ในร่างกายมนุษย์ทางเดินของธาตุ อากาศ สัมพันธ์กับระบบปัญจภูติ ระบบ ๓ ธาตุ เรียกว่า ไตรธาตุ คือ วาตะ ปิตตะ เสมหะ หลักการของไตรธาตุ คือ วาตะ ปิตตะ เสมหะ หลักการของไตรธาตุมีเหตุผล ดังต่อไปนี้ ๑.วาตะ = ธาตุวายุ คือธาตุที่ประจ้าชีวิตร่างกายมนุษย์ ระบบกลไก คือ ประสาทรวมกล้ามเนื้อ กระเพาะอาหาร ล้าไส้เล็ก ล้าไส้ใหญ่ หัวใจ ปอด ตับ ม้าม ไต ระบบของอวัยวะดังกล่าว เป็นกลไกที่เชื่อมโยง สัมพันธ์ซึ่งกันและกันด้วยระบบสารเคมีในร่างกาย การขับถ่ายของเสียออกมาจากร่างกาย เพื่อปรับสภาพของ ร่างกายให้เป็นปกติเพื่อส่งพลังคลื่นชีพจร นี่คือหน้าที่ของระบบวาตะ หรือวายุธาตุ ๒. ปิตตะ = ธาตุอาโป คือ ระบบควบคุมความร้อนของร่างกาย ระบบควบคุมการเผาผลาญของร่างกาย เชื่อมโยงกับ ม้าม ตับ ตับอ่อน ไต หัวใจ รวมถึงระบบของอวัยวะเหล่านั้นให้มีความปกติเพื่อช่วยให้อาหารย่อย ได้พร้อมกับการเสริมแบคทีเรียที่มีประโยชน์ต่อร่างกายให้คงอยู่ได้ ช่วยให้ระบบเอนไซม์ของอวัยวะภายในมี พลังงานเปลี่ยนสภาพทางเคมีให้เป็นปกติ ตลอดจนคอยควบคุมและเสริมสร้างระบบสมอง ระบบจิตใจ ให้มี พลังส่งคลื่นชีพจร นี่คือหน้าที่ของปิตตะหรือธาตุอาโป ๓. เสมหะ = อัคนีธาตุ คือ การควบคุมระบบการย่อยเพื่อดูดซึมซับเอาโอชะ ของอาหารไปหล่อเลี้ยง ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ผิวหนังให้สมบูรณ์ซึ่งสัมพันธ์กับต่อมไร้ท่อ เช่น ต่อมปิจูอิตาลี ต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไตท้า ให้ระบบข้อเข่า กระดูกท้างานปกติ และให้พลังชีวิตกระตุ้นฮอร์โมนให้ผลิตออกมาช่วยเสริมร่างกายที่เสื่อม โทรม และส่วนที่ขาดไปให้สมบูรณ์ ช่วยระบบแก๊สและวัตถุธาตุภายในร่างกายให้เป็นปกติในการส่งพลังให้กับ คลื่นชีพจรได้ นี่คือหน้าที่ของอัคนีธาตุ ระบบพลังไตรธาตุนี้เป็นระบบพลังงานของมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่งในสัตว์โลกชนิดอื่นไม่มีพลังงานชนิดนี้ อยู่ เป็นพลังงานภูมิของมนุษย์โดยเฉพาะเท่านั้น ในทางเคมี วาตะ คือ คาร์บอนประกอบเป็นพลังงาน ในทางเคมี ปิตตะ คือ ออกซิเจนประกอบเป็นพลังงาน ในทางเคมี เสมหะ คือ ไนไตรเจนประกอบเป็นพลังงาน ซึ่ง ๓ ธาตุนี้อยู่ในกระบวนการของวายุธาตุ เตยุธาตุ อันนี้ได้จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ที่แยกแยะออกมาให้เห็นถึงกระบวนการรวมตัวของโปรตีน ซึ่งเป็น ปัจจัยส้าคัญของชีวิต หลักไตรธาตุนี้ได้ น้าเข้าสู่กฏเกณฑ์แห่งชีวิวิทยาหลักของฟิชิโอโลยีขบวนการท้างานของเคมี และปรากฏการณืของผลที่เกิดขึ้น สามารถน้ามาสรุปได้ว่าเราเข้าใจถูกต้อง มันเป็นความหัศจรรย์ต่อกฎของไตรธาตุ ซึ่งเปรียบเสมือนหลักของ ศูนย์ถ่วงของโลกและเราอาจกล่าวได้ว่าร่างกายของมนุษย์กับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ก็คล้ายๆกัน สัตว์ พืช ซึ่งเราไม่ยอม เอามารวมกับมนุษย์ที่มีระบบไตรธาตุอยู่ ต้องยอมรับว่าการค้นพบนี้เป็นการทดสอบที่ยิ่งใหญ่ที่ค้นพบกฎโดย คนสมัยโบราณ ในสถานที่ที่มีสภาพเช่นเดียวกับที่ทั่วไปเหมือนกัน โดยปริยาย หลักของฟิสิกส์ หลักของสุขภาพ ที่ยังเชื่อมต่อกันไม่ได้ของหลักวิทยาศาสตร์อาจพบในหลักของไตรธาตุนี้ ในแนวฟิซิโอโลยี ของนายแพทย์สตาร์ ลิง ในแนวคิดที่ยอมรับถึง การพัฒนาของเซลส์ส่วนกลาง ที่มีความไวเป็นพิเศษ ๔ การเปลี่ยนแปลงของเครื่องจักรกลแต่เป็นโปรโตพลาสมิคเอกซ์โซทากอรี่ โพรเซสนั้นคือระบบการตื่นตัว ของระบบโปรโตพลาสมิคซึ่งก้าหนดด้วยระบบเชลส์ประสาทหรือความรู้สึกที่กระตุ้นให้มูราดาราจักระ จักระ ของล้ากระดูกสันหลัง พร้อมกับการท้างานของธาตุดิน ธาตุไฟ ธาตุเตยุ ธาตุวายุ ซึ่งเป็นผลก็คือ การผลิตกรอส หรือการเพิ่มพลังงานของร่างกายให้มาก การค้นพบนี้เมื่อไม่นานมานี้โดยมิสเตอร์เอวีฮิลล์ และลูกศิษย์ได้ยืนยัน ถึงความร้อนจ้านวนน้อยที่ผลิตได้ในขณะที่เชลส์ประสาทถูกกระตุ้นด้วยไฟฟ้า ให้ส่งผลผ่านปีกหนึ่งของเชลส์ ปลายประสาท จ้านวนความร้อนที่มีอิสระ ระหว่างการปฏิบัติการเป็นเวลาเดินหนึ่งนาที และติดตามออกมา เป็นอิสระอย่างช้าๆ มีจ้านวนถึง ๑๐ ครั้ง ถือว่ามากเพียงพอ การยอมรับคลื่นความร้อน ซึ่งได้อย่างสมบูรณ์ ในธาตุดิน ธาตุไฟ และรวมถึงธาตุอื่นๆ ในระบบปิตตะ ธาตุอาโป ยังคงความเป็นอยู่ในอัคคีธาตุ (ธาตุความร้อน) ระหว่างกันของมูราดาราจักระ และสวาดิชตานาจักระ คือ จักระเหนือหัวหน่าวและจักระเหนือก้นกบตรง สะโพก การยอมรับการเปลี่ยนแปลงของระบบไฟฟ้าอิเล็กโทรลด์ต่อการปฏิบัติในเนื้อเยื่อของสิ่งมีชีวิต โดยเฉพาะระบบใยประสาทที่มีระบบและกระจายเข้าสู่ศูนย์กลางและออกจากศูนย์กลางออกสู่ใยประสาทอื่นๆ ขึ้นกับกฎทั่วไปว่าวัตถุธาตุประกอบอยู่ด้วยในสิ่งมีขีวิตและเนื้อเยื่อ ได้มีลักษณะวิสัยด้วยการกระจายของน้้าให้ ไหลอยู่ในไฟฟ้าอิเล็กโทรลด์ หลักการของไตรธาตุ คือ ตัววาตะ นี้เป็นตัวกระตุ้นให้ร่างกายปกติ กระท้าให้ระบบปิตตะ ระบบเสมหะ สร้างภูมิคุ้มกันให้กับร่างกาย ในการต่อต้านเชื้อโรคจากภายนอกและสิ่งแปลกปลอมจากภายนอก ให้ร่างกาย แข็งแรงเป็นปกติได้ อนึ่งไตรธาตุทั้ง ๓ ประการมีความสัมพันธ์กับระบบจักระทั้ง ๖ และระบบปรานาวายุ อัพพะนาวายุ ระบบจักระ เป็นศูนย์กลางของระบบปรานาวายุ และเป็นเส้นทางเดินของระบบไตรธาตุ จักระ คือ กงล้อ ลมหมุนเร็ว การรวมตัวและการแผ่กระจายอย่างรวดเร็วในลักษณะของศูนย์รวม ประสาทที่สามารถติดต่อเชื่อมโยงกับเนื้อเยื่ออื่นๆ ทั่วร่างกายในไขกระดูกสันหลัง ในสมอง (เพล็กชุส) ใน รูปแบบต่างๆ กันของขนาดและรูปร่าง ซึ่งสามารถสร้างให้เกิดได้ทุกเวลา ส่วนของโครงสร้างของร่างกาย “เพล็กซุส” คือ สิ่งที่ซับซ้อนที่เชื่อมต่อการท้างานของประสาทต่างๆ ที่ปรากฏ ก็คือ ประสาทดั้งเดิม สามารถเชื่อมต่อบนพื้นผิวของกลางประสาทได้ ส่วนกลางของประสาทที่แท้จริง คือ จุดสุดท้ายของสายเชื่อม ซึ่งห่างจากจุดผิวเชื่อมของเส้นประสาท การก่อก้าเนิดของระบบไตรธาตุนี้ เริ่มมาจากเมื่อตัวอสุจิของพ่อได้เข้ามดลูกของแม่ได้ผสมกับไข่ของแม่ จึงเกิดพลังสองสิ่งขึ้นมา คือ ปรานาวายุของพ่อ อัพพะนาวายุของแม่ อันนี้คือต้นก้าเนิดของพลัง “ไตรธาตุ” ในตัวอ่อน ซึ่งต่อมาก็พัฒนาจนเกิด ปัญจสาขา ตา หู จมูก ปาก จนกระทั่งครบทุกอวัยวะ ดังนั้น ปัญจภูติ คือ ธาตุดิน(ของแข็ง) ธาตุน้้า (ของเหลว) ธาตุลม (วายุ) ธาตุไฟ (ความร้อน) ธาตุอากาศ (แก๊ส) คือพลังงาน ก่อก้าเนิดสัตว์โลกตั้งแต่วินาทีนั้นมา ประสาทประกอบด้วย เซลส์ และเส้นใยประสาท ซึ่งเซลส์เหล่านั้นโครงสร้าง ประกอบด้วยวัตถุที่เรียกว่า “วายัน วายุ” เรียกสิ่งนั้นว่าวัตถุของพื้นดิน โดยชาวฮินดูที่เรียกว่าโปสโมท ออบโลด ก็มิใช่อะไร คือ หินนั่นเอง ซึ่งโรงงานในการท้าหินปูนน้ามา จากพืช ดินเราค้นพบวัตถุนี้ได้ในเซลส์น้้าอสุจิ และในกระดูกโดยที่ชาวฮินดู รู้ว่าเซลส์สร้างมาจากน้้าอสุจิและที่ซึ่งร่างกายได้บังเกิดขึ้น ดังนั้นเส้นใยของประสาทจึงประกอบไปด้วย (หินปูน) ภูติ คือ ดิน โครงสร้างอวัยวะต่างๆ รวมทั้ง กระดูก ก้ประกอบด้วยเส้นใย ถูกถักใช้ขึ้นมา รองรับน้้าหนัก จากเนื้อเยื่อ ยกตัวอย่างน้้าตาลอ้อย นั้นคือกระเปาะรวมประสาท ดังนั้นส่วนของร่างกายที่เราเห็นก็คือ ดิน ตามหลัก วิชาการแพทย์ของชาวลังกาสุกะ ร่างกายประกอบด้วย ปัญจภูติ หรือ ธาตุ ๕ ชนิด ซึ่งพบได้ในจักรวาลนี้ สิ่งที่เป็นวัตถุที่แข็งที่สุด คือ พื้นดิน (ของโลก) ดังนั้นส่วนต่างๆ ของร่างกายทั้งหมด น้้าอสุจิ คือ เมล็ดพืช เช่นเดียวกัน สิ่งที่ขับออกมาจากรังไข่ของผู้หญิง วัตถุอาหารได้เปลี่ยนเป็น อาหาร เนื้อเยื่อ ๗ ชนิด เรียกว่า ๕ “คะทัส” ธาตุคือน้้าเหลือง เลือด เนื้อ ไขมัน กระดูก ไขกระดูก และน้้าอสุจิในกระบวนการอาหารที่เสริมสร้าง ร่างกายนั่นเอง ขบวนการผลิตวัตถุ ๗ ชนิด เป็นเนื้อเยื่อและกลับกลายให้เป็นน้้าอสุจิเข้าไปในโครงสร้างของร่างกายนั้น ส่วนหนึ่งจาก ๙๖ ชนิดของธาตุวัส การท้างานอย่างเต็มกระบวนการของกลไกที่ต้องการพลังงาน ระบบ ประสาทและพลังงานส้าคัญของปราณวายุที่มีอยู่ในร่างกาย เพื่อปฏิบัติการดังกล่าวของร่างกาย ระบบประสาทเพื่อเพียงให้มีการติดต่อกันและกันในโครงสร้างของมันเท่านั้น แต่พลังงานมาจากธาตุ อากาศที่เสริมให้ลมปราณจะเดินทางตามเส้นประสาทเหล่านั้น เมื่อลมปราณพบกับเส้นประสาททั้งหมด ตาม ลมหมุนอย่างที่เราเห็นในก้อนเมฆมีสายฟ้า แสงและเสียงเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ในธาตุอากาศหรือวายุธาตุเจาะลึกลง ไปในโครงสร้างของอวัยวะ ดังนั้น เกิดมีลมหมุนขึ้นใน (ตาข่ายร่างแห) ด้านนอก ของหมอนรองกระดูกสันหลัง และเช่นเดียวกันกับด้านในของมันก็เช่นเดียวกันกับลมหมุนตัวนี้ ที่เกิดขึ้นตรงตามตาข่ายร่างแหของหมอนรอง กระดูกทั้งด้านนอกและด้านใน เรียกว่า “จักระ” โดยชาวลังกาสุกะ และไม่เพียงแต่เกิดกับระบบประสาท เท่านั้น เพราะการหมุนของลมคล้ายกงล้อนี้ ซึ่งหมุนรอบแกนของมัน ดังนั้น “จักระ” ตัวนี้จะประกอบด้วยพลัง ที่แตกต่างกันออกไป เช่น มูราดาราจักระให้พิจารณาให้เหมือนกับกลไกที่เกี่ยวสัมพันธ์กันกับวัตถุธาตุในพื้นดิน โดยธรรมชาติพลังที่ต้องการนี้ จะยิ่งใหญ่ในร่างกายให้เกิดพลังงานอย่างช้างสารนี้เป็นแนวคิดของแพทย์ชาว ฮินดู โดยลักษณะเกี่ยวกันนี้พลังงานจักระนี้จะมีพลังงานไปตามสัดส่วนของพลังจักระสามารถส่งไปรวมกันได้ทั้ง แสงและเสียง ซึ่งเกิดในโครงสร้างของประสาทที่ติดต่อกันเช่น ถ้าเราเอามือปิดหูทั้ง ๒ ข้างพร้อมกัน จะได้ยิน เสียงอื้ออึงคะนึงขึ้นในหูทั้ง ๒ ข้าง นั่นคือการสร้างขึ้นของพลังจักระนั้นเอง การท้างานของระบบคลื่นชีพจร กูรูนาดี จักระทั้ง ๖ ของร่างกายที่ส้าคัญ มี ดังนี้ จักระที่ ๑ แนวกระดูกสันหลังใต้ฝีเย็บ เหนือก้นกบบริเวณสะโพก ชื่อ มูราดาราจักระ จักระที่ ๒ ตั้งอยู่เหนือหัวหน่าวใต้สะดือลงมา ประมาณ ๓ นิ้วมือ ชื่อ สวาดิซตานาจักระ จักระที่ ๓ ตั้งอยู่บริเวณสะดือ ชื่อ มานิบูราจักระ จักระที่ ๔ ตั้งอยู่บริเวณหัวใจ ชื่อ อะนาฮาตาจักระ จักระที่ ๕ ตั้งอยู่บริเวณตรงคอ ชื่อ วิสุทธาจักระ จักระที่ ๖ ตั้งอยู่ระหว่างกลางคิ้วทั้ง ๒ ข้าง ชื่อ แอ้กนาจักระ ระบบอวัยวะภายใน ๖ ประการ ของร่างกายอยู่ในฝ่ายอัพพะนาวายุ ดังนี้ ๑. หัวใจ ๒. ปอด ๓. ม้าม ๔. ตับ ๕. ไต ๖. เยื่อหุ้มหัวใจ ระบบอวัยวะภายใน ๖ ประการ ฝ่ายอัพพะนาวายุ มีหน้าที่ต่อร่างกาย คือ คอยบ้ารุงรักษา สร้างระบบป้องกันให้มีพลังงานโดยประสานซึ่งกันและกัน เพื่อบ้ารุงรักษาให้ร่างกายแข็งแรงอยู่เสมอ ระบบอวัยวะภายใน ๖ ประการ ของร่างกาย อยู่ในฝ่ายปรานาวายุ มี ดังนี้ ๑. กระเพาะอาหาร ๒. ถุงน้้าดี ๓. ล้าไส้เล็ก ๔. ล้าไส้ใหญ่ ๕. กระเพาะปัสสาวะ ๖ ๖. ตรีกาย ระบบอวัยวะภายใน ๖ ประการของร่างกายของฝ่ายปรานาวายุ มีหน้าที่ต่อร่างกาย คือ ส่งเข้าและ ถ่ายออกให้ระบบอวัยวะภายในทั้ง ๖ ประการ สะอาดอยู่เสมอในทุกๆกรณีของระบบธรรมชาติในร่างกาย ทั้ง ๒ ระบบดังกล่าวข้างต้นต่างก็อยู่ในพลังก้าเนิดของไตรธาตุ ดังนั้นอวัยวะทั้ง ๑๒ ประการ จะปกติ หรือไม่อย่างไรก็จะแสดงออกมาทางระบบชีพจรของข้อมือทั้งซ้ายและขวา โดยพลังก้าเนิดของระบบไตรธาตุทุก ประการ จึงเป็นแนวทางของการตรวจรักษาโรค ในคัมภีร์กูรูนาดีของลังกาสุกะ ได้ชี้ให้เห็นถึงความไม่สิ้นสุดของการส่งพลังก้าเนิดระบบไตรธาตุต่อชีพ จรของมนุษย์ในเวลาเดียวกันได้ โดยไหลเข้าสู่ระบบตลอดเวลาไม่มีหยุดยั้งเปรียบเสมือนคลื่นของน้้าทะเลฉันใด ก็ฉันนั้น พลังชีพจรได้ไหลเข้าสู่เส้นทางใหญ่ คือ กระดูกสันหลัง ในระบบประสาทสุชุมมุไนระบบประสาทซิม พาเธติกทั้งซ้ายและขวา ในระบบประสาทอิดาคาไลในระบบประสาทปงกาไกไลเครือข่ายของพลังชีพจรไม่เฉพาะที่กล่าวมาแต่ ได้คลอบคลุมถึงพลังของร่างกายในทุกส่วน ตั้งแต่ศรีษะจรดปลายเท้า วิ่งไหลสลับไปมาคล้ายกรรไกรไขว้กัน ตลอดเวลา ตลอดระบบซิมพาเธติก และระบบไขสันหลังถึงสมอง ต่างส่งรัศมีพลังชีพจรเหมือนเสียงกลองที่ตีไม่ มีหยุด การแผ่พลังจักรวาลของธาตุอัคนีด้วย ระบบวาตะนี้เป็นพลังศูนย์กลางของพลังทุกชนิดที่เกิดจากมูรา ดาราจักระ จักระเหนือก้นกบตรงบริเวณสะโพกเชิงกราณ ซึ่งพลังของวาตะนี้จะไปหล่อหลอมให้เนื้อเยื่อ ๗ สิ่ง ได้แก่ ๑. ต่อมน้้าเหลือง ๒. เลือด ๓. เนื้อเยื่อ ๔. ไขมัน ๕. กระดูก ๖. ไขกระดูก ๗. น้้าอสุจิ โดยเสริมสร้างอยู่ตลอดเวลา ไม่มีวันหยุดและไม่มีวันหยุดที่จะส่งคลื่นชีพจรเข้าสู่ระบบของร่างกาย โดยเฉพาะหลอดเลือดแดง จะมีคลื่นที่สังเกตได้ชัดเจน และโลหิตนี้ได้บรรจุพลังไตรธาตุเป็นสัดส่วนอย่างมาก ดังคลื่นชีพจรนี้จะมีส่วนผสมของวาตะ ปิตตะ เสมหะ นั่นคือ คาร์บอน ออกซิเจน ไนโตรเจน ซึ่งการสั่นสะเทือน ของคลื่นชีพจรนี้ได้มีการบันทึกไว้แล้วอย่างชัดเจน ดังนั้นเมื่อเราค้านึงถึงและคล้าพบคลื่นชีพจรวาตะ เราจะ รู้สึก เราก็รับรู้จุดนั้นได้ เราคล้าพบคลื่นชีพจรปิตตะ เรารู้สึกเราก็รับรู้จุดนั้นได้ ชีพจรปิตตะมีจุดของมันโดยเฉพาะเป็นพิเศษจะอยู่ที่หลังเท้าด้านหน้า การคล้าชีพจรนี้เป็นการ ประมาณการผลของระบบปิตตะในระบบสุขภาพของร่างกาย ถ้าเต้นเรียบและอบอุ่น เรียกว่า ปิดตะเป็นปกติ สุขภาพแข็งแรงดีถ้าชีพจรจุดนี้เต้นลึกไม่เรียบ ปราศจากความอบอุ่น ผลของมันคือ ปิตตะอ่อนแอลง สุขภาพ ไม่แข็งแรง พลังคลื่นชีพจรปิตตะนี้ ยังมีผลกระทบถึงระบบความนึกคิดและอารมณ์ของคนเราด้วย ซึ่งได้รับ อิทธิพลของอัคนีธาตุ ซึ่งเป็นธาตุที่ใหญ่กว่าธาตุทั้งปวง ถ้าปิตตะไม่ปกติ ก็มีผลต่อจิตใจและอารมณ์ทันที ในคัมภีร์สิทธา ได้แสดงถึงการเต้นของระบบชีพจรเปรียบเทียบกับการเคลื่อนตัวของระบบชีพจรของสัตว์ จ้าพวกนก หรือสัตว์ที่ใกล้เคียงกันซึ่งเป็นวิชาส่วนรวม ไม่ใช่ของใครโดยเฉพาะเพราะว่าปัจจุบันยังไม่มี เครื่องจักรกลทางระบบไฟฟ้าอะไรที่จะค้นพบเพื่อการตรวจคลื่นชีพจรได้ การแบ่งแยกการเต้นของคลื่นชีพจรนี้ แบ่งได้หลายระดับชั้นในระบบไตรธาตุ โดยน้าเอาสัตว์นกมาเป็นแบบอย่าง ซึ่งชี้ให้เห็นถึงวิธีการใช้ธรรมชาติมา เป็นความรู้ในเรื่องจัดการ และภายใต้การจัดการนี้เองเป็นธรรมชาติที่แท้จริง มูลเหตุของการเจ็บป่วยไข้ เพราะสิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมของมนุษย์ ร่างกายของมนุษย์เรา ประกอบด้วยกระดูก เส้นเอ็น กล้ามเนื้อ ต่อมน้้าเหลือง ระบบประสาท ระบบอากาศธาตุ ระบบปัญจภูติ ระบบ ๗ ไตรธาตุ ซึ่งทุกระบบต่างท้าหน้าที่ช่วยให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ แต่ว่ามนุษย์เราก็จ้าเป็นต้องสร้างโอกาส และ สร้างปัจจัยแวดล้อมให้ร่างกายได้เปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายของสุขภาพตนเองด้วย ตามหลักการแพทย์แล้ว มูลเหตุของการเกิดความเจ็บป่วยไข้ด้วยกิริยา และความประพฤติของมนุษย์ มีดังนี้ ๑. อาหาร ๒. อิริยาบถ ๓. อากาศร้อนและเย็น ๔. การอดนอน อดข้าว อดน้้า ๕. การกลั้นอุจจาระ กลั้นปัสสาวะ ๖. การท้างานเกินก้าลัง ๗. ความเศร้าโศกเสียใจ ๘. คนมีโทสะมาก มีความโกรธอยู่เป็นนิจ ๑.อาหาร เป็นสิ่งส้าคัญส้าหรับเลี้ยงกาย แต่ถ้าไม่ระวังในเรื่องอาหารก็จะให้เกิดโทษได้ เช่น บริโภค มากหรือน้อยกว่าที่เคยบริโภคหรือบริโภคอาหารที่บูดเสียและอาหารที่ควรท้าให้สุกเสียก่อนแต่ก็ไม่ท้า หรือ อาหารที่ยังไม่เคยบริโภค แต่บริโภคมากเกินควร ควรที่ต้องรับประทานอาหารการกินต้องสะอาด สด ใหม่ ไม่ ค้างคืน ค้างวันจนบูดเสีย โดยเฉพาะผักสด ผลไม้ต้องรับประทานขณะสดๆ อยู่จะมีสารอาหารท้าให้ร่างกาย แข็งแรง อาหารจ้าพวกเนื้อทุกชนิดควรท้าให้สุกก่อนรับประทาน ๒. อิริยาบถ มนุษย์ทั้งหลายควรใช้อิริยาบถทั้ง ๔ คือ นั่ง ยืน เดิน นอน โดยเฉลี่ย ให้เป็นการสม่้าเสมอ กัน หากฝืนอิริยาบถใด อิริยาบถหนึ่งนานเกินควร ไม่ท้าให้ร่างกายผลัดเปลี่ยนไปจากปกติ เช่น - อิริยาบถนั่ง นั่งมากเกินควร - อิริยาบถยืน ยืนมากเกินควร - อิริยาบถเดิน เดินมากเกินควร - อิริยาบถนอน นอนมากเกินไป การฝ่าฝืนอิริยาบถทั้ง ๔ นี้เป็นมูลของการเจ็บป่วยได้ การนั่ง ยืน เดิน นอน ต้องมีการเปลี่ยนแปลง อิริยาบถอย่าไปอยู่ท่าเดียว ในอิริยาบถเดียวกันนานเกินไป จนท้าให้ระบบเลือดลมในร่างกายเดินไม่สะดวกท้า ให้เส้นเลือดแข็งตึงร่างกายเดินไม่สะดวกท้าให้เส้นเลือดแข็งตึงร่างกายไม่สบาย เช่น นั่งพับเพียบเป็นเวลานานๆ นับชั่วโมงยืนนานเป็นชั่วโมงท้าให้ร่างกายไม่สบายได้ ต้องใช้การนวดให้เส้นหย่อน ๓. อากาศร้อนและเย็น คือ ร่างกายถูกความร้อน ความเย็น เช่น คนอยู่ในที่ร่มแล้วออกไปอยู่กลางแจ้ง ถูกแดดกล้า หรือที่อบอ้าว อากาศผ่านไม่สะดวก หรือเคยอยู่ในที่ร้อนอบอุ่นแล้วไปถูกความเย็นเกินไป เช่น ถูกฝน ถูกน้้าค้าง หรือลงไปแช่ในน้้าเป็นเวลานานๆ ความร้อนความเย็นถ้าได้รับนานเกินควรก็เป็นมูลเหตุของ การเจ็บป่วย ท่านที่อยู่กับต้นไม้มากๆควรถางให้มีที่กว้างพอเดินเล่นได้จึงจะดี จะได้เปลี่ยนแปลงอิริยาบถได้ ท้าให้จิตใจและร่างกายสบาย ถ้าท่านอยู่ในตึกที่ไม่มีบริเวณปลูกต้นไม้ควรมีกระถางต้นไม้ ปลูกต้นไม้เขียวไว้ดู เช่น ต้นตะบองเพ็ด หรือเถาชิงช้าชาลี ใบเงินใบทอง ใบนาคหรือต้นเล็บครุฑ เป็นต้น ที่แนะน้าต้นไม้เหล่านี้ เพราะปลูกง่ายดูแล้วไม่เบื่อเร็ว นอกจากนั้นยังเอาไปใช้ท้ายาได้อีกต่างหาก ต้นไม้นี้จะช่วยเรื่องอากาศได้มาก ควรปลูกต้นไม้บริเวณบ้านให้มากๆ นอกจากนี้ถ้ามีเวลาว่างก็ไปพักผ่อนตามชายทะเลก็ได้อากาศที่สดชื่นแก่ จิตใจและร่างกาย ๔. การอดนอน อดข้าว อดน้้า เมื่อถึงเวลานอนไม่ได้นอน ต้องทรมานอยู่เกินเวลา อันสมควร ถึงเวลา กินข้าวไม่ได้กิน โดยมีมูลเหตุจ้าเป็นต้องอดอยากกินน้้าไม่ได้กิน ก็ต้องอดต้องทนย่อมเป็นเหตุท้าให้เกิดโรคหรือ ความเจ็บป่วยได้ จัดได้ว่าเป็นโรคเพราะอดนอน อดข้าว อดน้้า การนอนหลับก็เป็นสิ่งจ้าเป็นและส้าคัญประการหนึ่ง ส้าหรับร่างกายมนุษย์เราอย่าฝืนนอนหลับ อดนอน ๘ มากเกินไปจะท้าให้ร่างกายทรุดโทรมได้ ผู้ใหญ่ควรนอนอย่างน้อยวันละ ๖ ชั่วโมง เด็กและผู้ที่อยู่ในวัย เจริญเติบโต ควรนอนอย่างน้อยวันละ ๘ ชั่วโมง ๕.การกลั้นอุจจาระ และกลั้นปัสสาวะตามปกติธรรมดาของคนเรา จะถ่ายอุจจาระวันละครั้ง ถ้ามีอาการ ท้องผูกควรสังเกตดูว่าเราเคยรับประทานอาหารอะไรที่ท้าให้ถ่ายท้องได้ควรจดจ้าไว้ ถ้าท้องผูกก็หามา รับประทานก็จะถ่ายได้โดยไม่ต้องใช้ยาถ่าย การปัสสาวะไม่ควรกลั้นปัสสาวะจนเกินไป จะท้าให้ท่อทางเดิน ปัสสาวะอักเสบได้ ควรดื่มน้้าสะอาดให้มาก ๆ จะช่วยในเรื่องปัสสาวะได้ดี การอุจาระปัสสาวะเมื่อถึงคราวจะ ตกแต่กลั้นไม่ให้ตก ปล่อยให้ล่วงเลยไปมากกว่าสมควร ก็แปรปรวนไปจากความปกติ ย่อมท้าให้ธาตุในกาย แปรปรวนไปด้วยเป็นหนทางให้เกิดโรคได้ จึงจัดว่าเป็นโรคที่เกิดขึ้นเพราะการกลั้นปัสสาวะกลั้นอุจจาระ ๖. การท้างานเกินก้าลัง คือ การยก แบก ลาก หาม หิ้ว ฉุด ลาก ของที่มีน้้าหนักเกินแรงของตน ถึงแม้จะ ท้าได้ก็ดีหรือการวิ่งกระโดดด้วยการออกก้าลังกายแรงมากขึ้นก็ดี ย่อมท้าให้อวัยวะน้อยใหญ่เคลื่อนไหวผิดปกติ หรือต้องใช้สมอง ต้องคิดท้างานต่างๆ โดยที่ต้องเหน็ดเหนื่อย เพราะต้องใช้ความคิดและออกก้าลังกายเกินปกติ เหล่านี้ เชื่อว่าท้าการดกินก้าลังกาย ย่อมท้าให้เจ็บป่วยเป็นเหตุให้เกิดโรคเพราะท้างานเกินก้าลัง ๗. ความเศร้าโศกเสียใจบุคคลที่มีความทุกข์ร้อนมาถึงตัวก็เศร้าโศกเสียใจ จนถึงกับลืมความสุขส้าราญ ที่เคยมีเคยเป็นมาแต่ก่อนที่สุดอาหารที่เคยบริโภคเคยมีรสก็เสื่อมถอยหรือละเลยเสีย เมื่อเป็นเช่นนี้น้้าเลี้ยง หัวใจที่ผ่องใสก็ขุ่นมัวเหือดแห้งไป ย่อมเกิดความเจ็บป่วยขึ้นได้ในกายจึงได้ชื่อว่าเกิดโรค เพราะความเศร้าโศก เสียใจ ระบบประสาท ระบบประสาทเป็นระบบที่ท้าหน้าที่ ควบคุมและประสานการท้างานของอวัยวะต่างๆในร่างกายสามารถ ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอก และภายในของร่างกาย ระบบประสาทแบ่งออกเป็น ๓ ระบบ ได้แก่ ๑. ระบบประสาทส่วนกลาง ๒. ระบบประสาทส่วนปลาย ๓. ระบบประสาทอัตโนมัติ ๑.ระบบประสาทส่วนกลาง ประกอบด้วย ๑.๑ สมองใหญ่ แบ่งเป็น ๒ ซีก ท้างานคล้ายกันทั้ง ๒ ซีก ซีกซ้ายควบคุมการท้างานของซีกขวา ซีกขวาควบคุมการท้างานของซีกซ้าย แต่ละซีกแบ่งเป็น ๔ ส่วน ๑.๑.๑ ส่วนหน้า เกี่ยวข้องกับความจ้า ความนึกคิด สติปัญญาและการเคลื่อนไหวของ ร่างกาย ๑.๑.๒ ส่วนกลาง เกี่ยวข้องกับความรู้สึก เช่น ร้อน เย็น เจ็บปวด สัมผัส และต้าแหน่งของข้อ ต่างๆ ๑.๑.๓ ส่วนข้าง เกี่ยวข้องกับการได้ยิน การแปลความหมาย การได้ยิน ๑.๑.๔ ส่วนหลัง เกี่ยวข้องกับการมองเห็น การแปลความหมายที่ได้เห็น ๑.๒ สมองน้อย ท้าหน้าที่ ควบคุมการทรงตัว ความตึงของกล้ามเนื้อ และประสานงานการท้างาน ของกล้ามเนื้อ ๑.๓ ก้านสมอง ท้าหน้าที่ควบคุมการท้างานของหัวใจและการเต้นของหัวใจ ๑.๔ ไขสันหลัง เป็นส่วนที่ต่อจากสมองลงมาสิ้นสุดที่กระดูกสันหลัง ช่วงอก ชิ้นที่ ๑ ต่อ ๒ ยาว ประมาณ ๑๘ นิ้ว ไขสันหลังอยู่ในช่วงของกระดูกสันหลัง ซึ่งมีน้้าไขสันหลังหล่อเลี้ยงอยู่ หน้าที่ของไขสันหลัง คือ เป็นทางเดินของเส้นประสาท ทั้งขาขึ้นและขาลง โดยรับความรู้สึกจากส่วน ต่างๆ ของร่างกายส่งไปที่สมองผ่านเส้นประสาทขาขึ้นและรับค้าสั่งจากสมองส่งไปยังส่วนต่