ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 14° 40' 12.9752"
14.6702709
ลองจิจูด (แวง) : E 102° 32' 42.5292"
102.5451470
เลขที่ : 196983
ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ยางพารา และกล้วยฉาบ
เสนอโดย บุรีรัมย์ วันที่ 19 กรกฎาคม 2565
อนุมัติโดย บุรีรัมย์ วันที่ 19 กรกฎาคม 2565
จังหวัด : บุรีรัมย์
0 209
รายละเอียด

“ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ยางพารา และกล้วยฉาบ”

“ผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในครัวเรือนจากไม้ยางพารา”

เริ่มต้นจากการได้เห็นต้นยางพาราที่ชาวสวนปลูกในพื้นที่เพื่อน้ำยางไปขาย เมื่อหมดน้ำยางแล้ว ต้นยางพาราก็ไม่ได้นำไปใช้ประโยชน์เท่าที่ควร ก็จะมีเพียงแต่การนำไปทิ้งหรือเผาถ่าน จึงเกิดความคิด นำต้นยางพารามาใช้ประโยชน์โดยการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เพราะไม้ยางพารามีลักษณะเป็นไม้เนื้ออ่อน สามารถนำมาแปรรูปได้ง่ายกว่าไม้ประเภทอื่น ๆ มีราคาถูก มีความสวยงาม เรียบเนียน ไม่ฉีกขาดเป็นเส้น ๆ รวมทั้งเป็นที่ต้องการของตลาด สามารถส่งออกไปยังต่างประเทศได้

“กล้วยฉาบ”

เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการรวมกลุ่มของสมาชิกในชุมชนเพื่อร่วมกันประกอบอาชีพเสริม สร้างรายได้ให้กับครอบครัวหลังฤดูกาลจากการประกอบอาชีพหลัก ซึ่งใช้วัตถุดิบในท้องถิ่นก็คือ “กล้วย” ซึ่งมีแทบ ทุกครัวเรือน เกิดเป็นแรงบันดาลใจนำมาแปรรูปทำเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชน ถือว่าเป็นการรวมกลุ่มสร้างงาน สร้างรายได้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สถานที่ตั้ง
กลุ่มผลิตภัณฑ์จากไม้ยางพารา บริษัทที.แอล.อินเตอร์วูด จำกัด
อำเภอ หนองกี่ จังหวัด บุรีรัมย์
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
บุคคลอ้างอิง นางสาวขวัญวจี ขวัญสู่ อีเมล์ burculture@gmail.com
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่