ร่วมแสดงความคิดเห็นกับเรา
ขอขอบคุณสำหรับการเยี่ยมชมเวบไซต์ m-culture.in.th

เราได้จัดทำแบบสำรวจแบบง่ายๆ เพื่อจะ
ได้ทราบถึงสิ่งที่ผู้เยี่ยมชมเวบไซต์เรา
ชอบและให้เราได้เรียนเกี่ยวกับคุณมากขึ้น
 
ละติจูด (รุ้ง) : N 17° 45' 11.0408"
17.7530669
ลองจิจูด (แวง) : E 103° 38' 26.1658"
103.6406016
เลขที่ : 93267
ประวัติบ้านจำปาดงเหนือ
เสนอโดย admin group วันที่ 8 มิถุนายน 2554
อนุมัติโดย สกลนคร วันที่ 24 มกราคม 2555
จังหวัด : สกลนคร
0 1316
รายละเอียด
ประวัติความเป็นมา บ้านจำปาดงเหนือ หมู่ที่ 6 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร ได้แยกออกมาจากจำปาดงหมู่ที่ 5 ตำบลกุดเรือคำ อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2534 มี ครัวเรีอนทั้งหมด 76 ครัวเรือน มีประชากร 439 คน แต่ก่อนบ้านจำปาดงเหนืออยู่หมู่ที่ 14 ตำบลคูสะคาม อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร เริ่มต้นมีนายคุณ แก้วกันหา เป็นผู้ใหญ่บ้าน อาชีพ ชาวบ้านจำปาดงเหนือประกอบอาชีพทางการเกษตรเป็นส่วนใหญ่ ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน และเลี้ยงสัตว์ ศาสนา ชาวบ้านนับถือศาสนาพุทธ มีวัดบ้านจำปาดงเหนือ เป็นที่รวมจิตใจของคนในหมู่บ้าน ลักษณะทั่วไป - เนื้อที่ทั้งหมด 3,700 ไร่ พื้นที่ทำการ เกษตร 2,600 ไร่ - จำนวนครัวเรือน 108 ครัวเรือน - ประชากร 441 คน เป็นชาย 230 คน เป็นหญิง 211 คน ลักษณะภูมิประเทศ บ้านจำปาดงเหนือ ตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มโดยปกติมี 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูหนาวและฤดูฝน ปริมาณน้ำฝนตกแต่ละปีอยู่ในเกณฑ์ดี สภาพทางเศรษฐกิจ - รายได้เฉลี่ย 33,098 บาท/คน/ปี - ครัวเรือนมีการออม 92.3 % - ชาวบ้านส่วนใหญ่ทำนา 2,400ไร่ คิดเป็น 86.1% ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมด
สถานที่ตั้ง
บ้านจำปาดงเหนือ
เลขที่ - หมู่ที่/หมู่บ้าน 6 ซอย - ถนน -
ตำบล กุดเรือคำ อำเภอ วานรนิวาส จังหวัด สกลนคร
รายละเอียดการเข้าถึงข้อมูล
สารสนเทศชุมชน
บุคคลอ้างอิง นายชัยยุทธ พรหมจักร
ชื่อที่ทำงาน สนง.วัฒนธรรมจังหวัดสกลนคร อีเมล์ Province.m-culture.go.th/sakonnakhon
เลขที่ - หมู่ที่/หมู่บ้าน - ซอย - ถนน -
ตำบล ธาตุเชิงชุม อำเภอ เมืองสกลนคร จังหวัด สกลนคร รหัสไปรษณีย์ 47000
โทรศัพท์ 042716247 โทรสาร 042716214
แสดงความคิดเห็น
โปรด เข้าสู่ระบบ ก่อนทำการแสดงความคิดเห็น

ชื่อผู้ใช้
รหัสผ่าน
ยังไม่มีการแสดงความคิดเห็น
ข้อมูลที่แสดงในระบบนี้ จัดเก็บโดยนักวิชาการวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม หากมีข้อเสนอแนะหรือข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อวัฒนธรรมจังหวัด
       ข้อมูลนี้เป็นประโยชน์หรือไม่