ชื่อหน่วยงาน เทศบาลตำบลดงป่าคำ
ที่ตั้งเลขที่ 99หมู่ที่ 2ตำบล ดงป่าคำ
อำเภอ เมืองพิจิตร จังหวัด พิจิตร หมายเลขโทรศัพท์ 056-674220
ประวัติของหน่วยงาน
ประวัติตำบลดงป่าคำ
นายเลี่ยม มันตะสูตร ครูใหญ่โรงเรียนบ้านดงป่าคำ เล่ามาว่าเดิมบ้านดงป่าคำ เป็นป่า ต่อมา ตามั่น ยายคง อพยพมาจากกรุงเทพฯมาอยู่กับญาติที่เมืองพิจิตรเก่า ซึ่งญาติเล่าว่าที่ดินยังว่างเปล่าไปตลอดลำคลองเมืองเก่า ที่เรียกว่าคลองข้าวตอกทั้งสองข้าง ทำประโยชน์ได้ทั้งนั้น ยังไม่มีใครครอบครอง เมื่อตามั่น ยายคง ทราบเรื่องก็มาสำรวจดูตามลำคลองทั้งสองฟากมาทางใต้ ก็พบทำเลที่เหมาะเข้า ห่างจากตัวเมืองพิจิตรเก่าประมาณ 8กม. ได้บุกร้างถางป่าสร้างบ้านเรือน ตั้งหลักฐานทำมาหากินจนร่ำรวยและมีญาติอพยพติดตามมาบ้าง เกิดใหม่บ้างกลายเป็นครอบครัวใหญ่ หลายครอบครัว กิติศัพท์ในความร่ำรวยของตามั่น ยายคง ได้ขยายไปจนทั่ว ทำให้เจ้าเมืองพิจิตรในสมัยนั้นคือ พระยาเทพาธิบดี ได้ออกตรวจเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้าน และสนใจความร่ำรวยของตามั่น ยายคงมาก จึงถามว่า ที่นี่เรียกบ้านอะไร ตามั่น ยายคง แกร่ำรวยมีทองคำมาก จึงตอบไปว่า “บ้านดงป่าคำ”คือหมายถึงว่า ถึงจะเป็นป่าเป็นดง ก็สามารถเป็นทองคำได้ ต่อมามีราษฎรอพยพเข้ามาหากินเพิ่มมากขึ้นอีกหลายพวก หลายครอบครัว แยกกันอยู่เป็นพวก ๆ หมู่ แต่ในสมัยนั้นไม่เรียกพวก เรียกว่า ก๊ก เช่น ก๊กยายเนย ก็กยายขาว ก๊กหลวงยกบัตร (ขุนพินิจ)
เดิมบ้านดงป่าคำ ขึ้นอยู่กับตำบลโพธิ์ประทับช้าง ต่อมาได้แยกออกมาเรียกตำบลดงป่าคำตามชื่อบ้านข้างต้น มีขุนพินิจ เป็นกำนันคนแรก ต่อมามีกำนันพลอย ขุนคำวัน (โม้) กำนันสาย จิตระกูร กำนันศิริ อินตะมะ กำนันชุ่ม จิตระกูร กำนันผัน ฉิมะเวช กำนันพุฒ โสภาคะดิษฐ์ ฯลฯ จนถึงกำนันเหว่า เปลี่ยนสาย เป็นคนปัจจุบันประวัติตำบลดงป่าคำ
นายเลี่ยม มันตะสูตร ครูใหญ่โรงเรียนบ้านดงป่าคำ เล่ามาว่าเดิมบ้านดงป่าคำ เป็นป่า ต่อมา ตามั่น ยายคง อพยพมาจากกรุงเทพฯมาอยู่กับญาติที่เมืองพิจิตรเก่า ซึ่งญาติเล่าว่าที่ดินยังว่างเปล่าไปตลอดลำคลองเมืองเก่า ที่เรียกว่าคลองข้าวตอกทั้งสองข้าง ทำประโยชน์ได้ทั้งนั้น ยังไม่มีใครครอบครอง เมื่อตามั่น ยายคง ทราบเรื่องก็มาสำรวจดูตามลำคลองทั้งสองฟากมาทางใต้ ก็พบทำเลที่เหมาะเข้า ห่างจากตัวเมืองพิจิตรเก่าประมาณ 8กม. ได้บุกร้างถางป่าสร้างบ้านเรือน ตั้งหลักฐานทำมาหากินจนร่ำรวยและมีญาติอพยพติดตามมาบ้าง เกิดใหม่บ้างกลายเป็นครอบครัวใหญ่ หลายครอบครัว กิติศัพท์ในความร่ำรวยของตามั่น ยายคง ได้ขยายไปจนทั่ว ทำให้เจ้าเมืองพิจิตรในสมัยนั้นคือ พระยาเทพาธิบดี ได้ออกตรวจเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้าน และสนใจความร่ำรวยของตามั่น ยายคงมาก จึงถามว่า ที่นี่เรียกบ้านอะไร ตามั่น ยายคง แกร่ำรวยมีทองคำมาก จึงตอบไปว่า “บ้านดงป่าคำ”คือหมายถึงว่า ถึงจะเป็นป่าเป็นดง ก็สามารถเป็นทองคำได้ ต่อมามีราษฎรอพยพเข้ามาหากินเพิ่มมากขึ้นอีกหลายพวก หลายครอบครัว แยกกันอยู่เป็นพวก ๆ หมู่ แต่ในสมัยนั้นไม่เรียกพวก เรียกว่า ก๊ก เช่น ก๊กยายเนย ก็กยายขาว ก๊กหลวงยกบัตร (ขุนพินิจ)
เดิมบ้านดงป่าคำ ขึ้นอยู่กับตำบลโพธิ์ประทับช้าง ต่อมาได้แยกออกมาเรียกตำบลดงป่าคำตามชื่อบ้านข้างต้น มีขุนพินิจ เป็นกำนันคนแรก ต่อมามีกำนันพลอย ขุนคำวัน (โม้) กำนันสาย จิตระกูร กำนันศิริ อินตะมะ กำนันชุ่ม จิตระกูร กำนันผัน ฉิมะเวช กำนันพุฒ โสภาคะดิษฐ์ ฯลฯ จนถึงกำนันเหว่า เปลี่ยนสาย เป็นคนปัจจุบันประวัติตำบลดงป่าคำ
นายเลี่ยม มันตะสูตร ครูใหญ่โรงเรียนบ้านดงป่าคำ เล่ามาว่าเดิมบ้านดงป่าคำ เป็นป่า ต่อมา ตามั่น ยายคง อพยพมาจากกรุงเทพฯมาอยู่กับญาติที่เมืองพิจิตรเก่า ซึ่งญาติเล่าว่าที่ดินยังว่างเปล่าไปตลอดลำคลองเมืองเก่า ที่เรียกว่าคลองข้าวตอกทั้งสองข้าง ทำประโยชน์ได้ทั้งนั้น ยังไม่มีใครครอบครอง เมื่อตามั่น ยายคง ทราบเรื่องก็มาสำรวจดูตามลำคลองทั้งสองฟากมาทางใต้ ก็พบทำเลที่เหมาะเข้า ห่างจากตัวเมืองพิจิตรเก่าประมาณ 8กม. ได้บุกร้างถางป่าสร้างบ้านเรือน ตั้งหลักฐานทำมาหากินจนร่ำรวยและมีญาติอพยพติดตามมาบ้าง เกิดใหม่บ้างกลายเป็นครอบครัวใหญ่ หลายครอบครัว กิติศัพท์ในความร่ำรวยของตามั่น ยายคง ได้ขยายไปจนทั่ว ทำให้เจ้าเมืองพิจิตรในสมัยนั้นคือ พระยาเทพาธิบดี ได้ออกตรวจเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้าน และสนใจความร่ำรวยของตามั่น ยายคงมาก จึงถามว่า ที่นี่เรียกบ้านอะไร ตามั่น ยายคง แกร่ำรวยมีทองคำมาก จึงตอบไปว่า “บ้านดงป่าคำ”คือหมายถึงว่า ถึงจะเป็นป่าเป็นดง ก็สามารถเป็นทองคำได้ ต่อมามีราษฎรอพยพเข้ามาหากินเพิ่มมากขึ้นอีกหลายพวก หลายครอบครัว แยกกันอยู่เป็นพวก ๆ หมู่ แต่ในสมัยนั้นไม่เรียกพวก เรียกว่า ก๊ก เช่น ก๊กยายเนย ก็กยายขาว ก๊กหลวงยกบัตร (ขุนพินิจ)
เดิมบ้านดงป่าคำ ขึ้นอยู่กับตำบลโพธิ์ประทับช้าง ต่อมาได้แยกออกมาเรียกตำบลดงป่าคำตามชื่อบ้านข้างต้น มีขุนพินิจ เป็นกำนันคนแรก ต่อมามีกำนันพลอย ขุนคำวัน (โม้) กำนันสาย จิตระกูร กำนันศิริ อินตะมะ กำนันชุ่ม จิตระกูร กำนันผัน ฉิมะเวช กำนันพุฒ โสภาคะดิษฐ์ ฯลฯ จนถึงกำนันเหว่า เปลี่ยนสาย เป็นคนปัจจุบันประวัติตำบลดงป่าคำ
นายเลี่ยม มันตะสูตร ครูใหญ่โรงเรียนบ้านดงป่าคำ เล่ามาว่าเดิมบ้านดงป่าคำ เป็นป่า ต่อมา ตามั่น ยายคง อพยพมาจากกรุงเทพฯมาอยู่กับญาติที่เมืองพิจิตรเก่า ซึ่งญาติเล่าว่าที่ดินยังว่างเปล่าไปตลอดลำคลองเมืองเก่า ที่เรียกว่าคลองข้าวตอกทั้งสองข้าง ทำประโยชน์ได้ทั้งนั้น ยังไม่มีใครครอบครอง เมื่อตามั่น ยายคง ทราบเรื่องก็มาสำรวจดูตามลำคลองทั้งสองฟากมาทางใต้ ก็พบทำเลที่เหมาะเข้า ห่างจากตัวเมืองพิจิตรเก่าประมาณ 8กม. ได้บุกร้างถางป่าสร้างบ้านเรือน ตั้งหลักฐานทำมาหากินจนร่ำรวยและมีญาติอพยพติดตามมาบ้าง เกิดใหม่บ้างกลายเป็นครอบครัวใหญ่ หลายครอบครัว กิติศัพท์ในความร่ำรวยของตามั่น ยายคง ได้ขยายไปจนทั่ว ทำให้เจ้าเมืองพิจิตรในสมัยนั้นคือ พระยาเทพาธิบดี ได้ออกตรวจเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้าน และสนใจความร่ำรวยของตามั่น ยายคงมาก จึงถามว่า ที่นี่เรียกบ้านอะไร ตามั่น ยายคง แกร่ำรวยมีทองคำมาก จึงตอบไปว่า “บ้านดงป่าคำ”คือหมายถึงว่า ถึงจะเป็นป่าเป็นดง ก็สามารถเป็นทองคำได้ ต่อมามีราษฎรอพยพเข้ามาหากินเพิ่มมากขึ้นอีกหลายพวก หลายครอบครัว แยกกันอยู่เป็นพวก ๆ หมู่ แต่ในสมัยนั้นไม่เรียกพวก เรียกว่า ก๊ก เช่น ก๊กยายเนย ก็กยายขาว ก๊กหลวงยกบัตร (ขุนพินิจ)
เดิมบ้านดงป่าคำ ขึ้นอยู่กับตำบลโพธิ์ประทับช้าง ต่อมาได้แยกออกมาเรียกตำบลดงป่าคำตามชื่อบ้านข้างต้น มีขุนพินิจ เป็นกำนันคนแรก ต่อมามีกำนันพลอย ขุนคำวัน (โม้) กำนันสาย จิตระกูร กำนันศิริ อินตะมะ กำนันชุ่ม จิตระกูร กำนันผัน ฉิมะเวช กำนันพุฒ โสภาคะดิษฐ์ ฯลฯ จนถึงกำนันเหว่า เปลี่ยนสาย เป็นคนปัจจุบันประวัติตำบลดงป่าคำ
นายเลี่ยม มันตะสูตร ครูใหญ่โรงเรียนบ้านดงป่าคำ เล่ามาว่าเดิมบ้านดงป่าคำ เป็นป่า ต่อมา ตามั่น ยายคง อพยพมาจากกรุงเทพฯมาอยู่กับญาติที่เมืองพิจิตรเก่า ซึ่งญาติเล่าว่าที่ดินยังว่างเปล่าไปตลอดลำคลองเมืองเก่า ที่เรียกว่าคลองข้าวตอกทั้งสองข้าง ทำประโยชน์ได้ทั้งนั้น ยังไม่มีใครครอบครอง เมื่อตามั่น ยายคง ทราบเรื่องก็มาสำรวจดูตามลำคลองทั้งสองฟากมาทางใต้ ก็พบทำเลที่เหมาะเข้า ห่างจากตัวเมืองพิจิตรเก่าประมาณ 8กม. ได้บุกร้างถางป่าสร้างบ้านเรือน ตั้งหลักฐานทำมาหากินจนร่ำรวยและมีญาติอพยพติดตามมาบ้าง เกิดใหม่บ้างกลายเป็นครอบครัวใหญ่ หลายครอบครัว กิติศัพท์ในความร่ำรวยของตามั่น ยายคง ได้ขยายไปจนทั่ว ทำให้เจ้าเมืองพิจิตรในสมัยนั้นคือ พระยาเทพาธิบดี ได้ออกตรวจเยี่ยมราษฎรในหมู่บ้าน และสนใจความร่ำรวยของตามั่น ยายคงมาก จึงถามว่า ที่นี่เรียกบ้านอะไร ตามั่น ยายคง แกร่ำรวยมีทองคำมาก จึงตอบไปว่า “บ้านดงป่าคำ”คือหมายถึงว่า ถึงจะเป็นป่าเป็นดง ก็สามารถเป็นทองคำได้ ต่อมามีราษฎรอพยพเข้ามาหากินเพิ่มมากขึ้นอีกหลายพวก หลายครอบครัว แยกกันอยู่เป็นพวก ๆ หมู่ แต่ในสมัยนั้นไม่เรียกพวก เรียกว่า ก๊ก เช่น ก๊กยายเนย ก็กยายขาว ก๊กหลวงยกบัตร (ขุนพินิจ)
เดิมบ้านดงป่าคำ ขึ้นอยู่กับตำบลโพธิ์ประทับช้าง ต่อมาได้แยกออกมาเรียกตำบลดงป่าคำตามชื่อบ้านข้างต้น มีขุนพินิจ เป็นกำนันคนแรก ต่อมามีกำนันพลอย ขุนคำวัน (โม้) กำนันสาย จิตระกูร กำนันศิริ อินตะมะ กำนันชุ่ม จิตระกูร กำนันผัน ฉิมะเวช กำนันพุฒ โสภาคะดิษฐ์ ฯลฯ จนถึงกำนันเหว่า เปลี่ยนสาย เป็นคนปัจจุบัน
ความสำคัญ ต่อ งานวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นประจำตำบลดงป่าคำ เป็นองค์กรที่ส่งเสิรมการจัดเก็บข้อมูลกลางทางวัฒนธรรมของกระทรวงวัฒนธรรม ประจำปี พ.ศ.2555
ความเชี่ยวชาญเฉพราะด้าน ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี
ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ด้านบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ด้านเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันภาคการเกษตรและสินค้าข้าว
ด้านแก้ปัญหาและมุ่งพัฒนาสังคมตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาองค์การและบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
แนวทางการพัฒนาท้องถิ่น
ด้านบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- การอนุรักษ์ฟื้นฟูและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่าง ยั่งยืน
- การส่งเสริมและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในการบริหารจัดการ
- ส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดพิจิตรให้มีศักยภาพ ทรัพยากรน้ำการศึกษาออกแบบDongpakam@gmail.com